営業活動の一環としていろんなランキングに参加してます。効果があるかどうかは分かりませんが。
2008-06-04 Radio Japan6月3日分
また一日遅れだが、こちらもなかなか興味深い記事ということで。タイ人の妻を持つ者としては日本に一体何人ぐらいのタイ人がいるのか知りたいのだが、日本に住む外国人としてはまだ少数派なので、ネットなどではなかなかその正確な数字が分からない。一方、現在日本に最も多く住む外国人とは?というのが本日のお題である。なお、サイトラ箇所は13秒〜29秒と8分49秒〜9分50秒である。
(13秒〜29秒)
เลขาธิการสหประชาชาติเรียกร้องความร่วมมือระหว่างประเทศระหว่างการประชุมว่าด้วยวิกฤตการณ์อาหารโลก ญี่ปุ่นระบุการประชุมรัฐมนตรีด้านพลังงานของจีแปดจะเป็นโอกาสอันดีเพื่อหามาตรการสงวนพลังงาน ต่อไปเป็นรายละเอียดของข่าวครับ
(8分49秒〜9分50秒)
กระทรวงยุติธรรมของญี่ปุ่นกล่าวว่าคนจีนติดอันดับการเป็นชาวต่างประเทศกลุ่มใหญ่ที่สุดที่อาศัยอยู่ในญี่ปุ่นเป็นครั้งแรกโดยมีจำนวนกว่าหกแสนคน ทั้งนี้สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองของกระทรวงยุติธรรมเผยว่าจำนวนชาวต่างชาติที่ลงทะเบียนเป็นผู้อยู่อาศัยในญี่ปุ่นเมื่อสิ้นปี๒๕๕๐ได้เพิ่มขึ้นประมาณหกหมื่นแปดพันคนจากปีก่อนหน้ามาอยู่ที่สองล้านหนึ่งแสนห้าหมื่นสองพันเก้าร้อยเจ็ดสิบสามคนหรือร้อยละหนึ่งจุดหกเก้าของประชากรทั้งหมดซึ่งเป็นจำนวนมากที่สุดในประวัติการณ์ ในจำนวนนั้นเป็นชาวจีนหกแสนเจ็ดพันคนมากกว่าชาวเกาหลีที่มีอยู่ห้าแสนเก้าหมื่นสามพันคนทำให้ชาวจีนเป็นกลุ่มชาวต่างชาติจำนวนมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่งเป็นครั้งแรกตั้งแต่ทางกระทรวงได้เริ่มเก็บข้อมูลเมื่อปี๒๕๐๒ สำหรับชาวกราซิลที่มีอยู่สามแสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพันคนและชาวฟิลิปปินส์จำนวนสองแสนสองพันคนก็ติดอันดับต้นๆ ด้วย
(13秒〜29秒)
เลขาธิการสหประชาชาติ/国連の事務総長は
เรียกร้อง/訴えた
ความร่วมมือระหว่างประเทศ/国際的な協力を
ระหว่างการประชุม/会議の中で
ว่าด้วยวิกฤตการณ์อาหารโลก/世界的食料危機に関する
ญี่ปุ่นระบุ/日本が言明
การประชุมรัฐมนตรีด้านพลังงานของจีแปด/G8のエネルギー担当相会議は
จะเป็นโอกาสอันดี/絶好の機会となる
เพื่อหามาตรการ/対策を探るための
สงวนพลังงาน/省エネルギーの
ต่อไปเป็นรายละเอียดของข่าวครับ/以下はニュースの詳細です。
「สงวนพลังงาน」というのは言葉上の意味としては「エネルギーを保護する(守る)」といった日本語のほうが近いのだが、特に国レベルの方針などでは「อนุรักษ์พลังงาน」という言葉がいわゆる「省エネルギー」という意味合いで使われることがあり、今回の「สงวนพลังงาน」はこの「อนุรักษ์พลังงาน」にニュアンスが近いので省エネルギーとした。また、上述の「อนุรักษ์พลังงาน」を英語で置き換えると「energy conservation」あたりになるが、この「energy conservation」という英語が日本語では「省エネルギー」という意味合いで使われるようである。なお、タイ語には「ประหยัดพลังงาน」という言い方があり、こちらのほうが日本語の「省エネルギー」というニュアンスにより近い。
(8分49秒〜9分50秒)
กระทรวงยุติธรรมของญี่ปุ่น/日本の法務省が
กล่าวว่า/発表した
คนจีนติดอันดับการเป็นชาวต่างประเทศกลุ่มใหญ่ที่สุด/中国人が最も多い外国人となった
ที่อาศัยอยู่ในญี่ปุ่น/日本に在留する
เป็นครั้งแรก/初めてのことである
โดยมีจำนวนกว่าหกแสนคน/なお、その数は60万人強である
ทั้งนี้/これについては
สำนักงานตรวจคนเข้าเมืองของกระทรวงยุติธรรม/法務省入国管理局が
เผยว่า/明らかにしたところによると
จำนวนชาวต่างชาติ/外国人数
ที่ลงทะเบียน/登録する
เป็นผู้อยู่อาศัยในญี่ปุ่น/日本在留者として
เมื่อสิ้นปี๒๕๕๐/2007年末の時点で
ได้เพิ่มขึ้นประมาณหกหมื่นแปดพันคน/およそ6万8,000人増加した
จากปีก่อนหน้า/前年から
มาอยู่ที่สองล้านหนึ่งแสนห้าหมื่นสองพันเก้าร้อยเจ็ดสิบสามคน/215万2,973人となった
หรือร้อยละหนึ่งจุดหกเก้าของประชากรทั้งหมด/これは全人口の1.69%にあたる
ซึ่งเป็นจำนวนมากที่สุดในประวัติการณ์/人数としては過去最高である
ในจำนวนนั้น/この人数の中で
เป็นชาวจีนหกแสนเจ็ดพันคน/中国人が60万8,000人で
มากกว่าชาวเกาหลี/韓国・朝鮮人を上回った
ที่มีอยู่ห้าแสนเก้าหมื่นสามพันคน/59万3,000人いる
ทำให้ชาวจีนเป็นกลุ่มชาวต่างชาติ/これにより中国人が外国人となった
จำนวนมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง/最も人数の多い
เป็นครั้งแรก/初めて
ตั้งแต่/以降
ทางกระทรวงได้เริ่มเก็บข้อมูล/法務省がデータを取り始めた
เมื่อปี๒๕๐๒/1959年
สำหรับชาวกราซิล/一方、ブラジル人
ที่มีอยู่สามแสนหนึ่งหมื่นเจ็ดพันคน/31万7,000人いる
และชาวฟิลิปปินส์/とフィリピン人も
จำนวนสองแสนสองพันคน/20万2,000人の
ก็ติดอันดับต้นๆ ด้วย/上位につけている
サイトラの24行目にある「จำนวนมากที่สุดเป็นอันดับหนึ่ง」という言い方だが、「มากที่สุด」なら一番多いのだからわざわざ「เป็นอันดับหนึ่ง」などと書く必要はないように思えるが実はそうではない。というのも、「มากที่สุด」だけだと「最も多いうちのひとつ」と解釈することもできるからである。本来「最も多い」というのはひとつだけのはずだが、日本語でも「世界で最も美しい女性の一人」などという言い方もする(私見だがこれは英語の「one of the most~」から来た言葉で、元々日本語ではこういう言い方はしていなかったのではないか)。そのようなわけで「มากที่สุด」には「เป็นอันดับหนึ่ง」も必要であり(ただし日本語としては「最多」だけで十分)、実際タイ語には「จำนวนมากที่สุดเป็นอันดับสอง」などという一見すると違和感がある言い方もある。